หากต้องการปกป้องผิวจากรังสี UVA
ในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ครีมกันแดดยี่ห้อไหนดี ควรเลือกโดยพิจารณาจากค่า PA และเครื่องหมาย + เป็นตัวบอกว่าผลิตภัณฑ์ครีมกันแดดดังกล่าว สามารถปกป้องผิวจากรังสี UVA ได้มากน้อยเพียงใด ซึ่งเมื่อต้องทำกิจกรรมกลางแจ้งนานๆควรจะเลือกครีมกันแดดยี่ห้อไหนดีที่มีค่า PA++ ขึ้นไป เพราะรังสี UVB เป็นรังสีที่มีช่วงคลื่นสั้น พลังงานสูง ทำให้ผิวหนังไหม้ บวมแดง คล้ำแดด เป็นสาเหตุของการเกิดฝ้า กระ ความแห้งกร้านของผิว และหากได้รับรังสีในระยะเวลานานอาจทำให้เกิดมะเร็งผิวหนัง
วิธีการใช้ครีมกันแดดอย่างถูกวิธี
– การทาครีมกันแดดสำหรับใบหน้าให้ใช้ขนาดเท่าไข่มุกเม็ดใหญ่ 2 เม็ด หรือหากใช้โลชั่นให้ใช้ขนาดเหรียญ 10 และสำหรับลำตัวควรทาครีมกันแดดยี่ห้อไหนดีหนาประมาณ 2 มิลลิกรัมต่อ 1 ตร.ซม. ทั้งนี้ควรทาทิ้งไว้ก่อนออกแดดประมาณ 15 – 30 นาที และต้องทาซ้ำทุก 2-3 ชั่วโมง
– คนส่วนใหญ่จะทาครีมกันแดดเพียง 0.5-1.5 มิลลิกรัมต่อตารางเซนติเมตรเท่านั้น ซึ่งจะได้ผลแค่ 20-50% ของค่า SPF ที่แสดงไว้เท่านั้น ดังนั้นควรทาซ้ำๆในปริมาณที่พอดี ซึ่งจะได้ผลเพิ่มขึ้นเป็น 2.5 เท่า
– นอกจากการทาครีมกันแดดแล้วก็ต้องเลี่ยงแดดด้วยวิธีอื่นๆ เช่น ใส่แว่น ใส่หมวก กางร่ม และเสื้อผ้าในการป้องกัน
ปัจจุบันครีมกันแดดมีอยู่ 3 ประเภท
1. Chemical- Physical Sunscreen เป็นการเสริมข้อดี และลดข้อด้อยของครีมกันแดดทั้ง 2 ประเภทแรก พร้อมกับเพิ่มประสิทธิภาพในการป้องกันแสงแดดร่วมกัน
2. Chemical Sunscreen เป็นครีมกันแดดที่มีส่วนผสมของสารเคมี ที่ทำหน้าที่ปกป้องผิวจากแสงแดด โดยทำการดูดรังสีแสงแดดเข้าไปไว้ใต้ผิว หลังจากโดดแดดสักพักสารเคมีจะเสื่อมสภาพ ทำให้จำเป็นต้องทาครีมกันแดดยี่ห้อไหนดีทุกๆ 2-3 ชั่วโมง
3. Physical Sunscreen เป็นครีมกันแดดที่มีส่วนผสมของสารที่สะท้อนรังสร UVA และ UVB ออกไปผิวหนัง โดยสารกันแดดจะทำการเคลือบบนผิวหนังชั้นบน ทำให้มีการดูดซึมลงสู่ผิวน้อย
เนื่องจากรังสี UV มีช่วงคลื่นยาว สารแต่ละชนิดจึงป้องกันรังสี UV ได้ไม่เท่ากัน บางตัวกันได้เฉพาะช่วงคลื่นของ UVA บางตัวกันได้ในช่วง UVB การเลือกซื้อครีมกันแดดดูที่ประสิทธิภาพในการป้องกันรังสี UV ซึ่งแสดงอยู่ในรูปของค่า SPF ครีมกันแดดที่มีค่า SPF สูงจะมีประสิทธิภาพในการป้องกันรังสี UVB ได้มากขึ้น ตัวชี้วัดอีกตัวหนึ่งที่เราอาจพบส่วนใหญ่เป็นระบบที่ใช้ในผลิตภัณฑ์ของญี่ปุ่น ซึ่งแบ่งระดับการป้องกันรังสี UVA เพิ่มขึ้นตามลำดับจาก PA+ PA++ และ PA+++ อย่างไรก็ดี การใช้ครีมกันแดดระยะยาว ยังมีข้อสันนิษฐานว่าจะทำงาน DNA บนผิวหนังและเป็นสาเหตุของมะเร็งผิวหนังต่อไป และยังไม่มีข้อพิสูจน์ที่ชัดเจน